วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

กฎหมายแรงงาน ตอน ทดลองงาน และบอกเลิกจ้าง


การจ้างงานและการทดลองงานและการบอกเลิกสัญญาจ้างซึ่งในอดีตที่ผ่านมาก็พูดถึงเรื่องนี้ไม่ว่าจะเป็นนายจ้างหรือลูกจ้างก็จะมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนกันตลอดมาโดยเฉพาะในเรื่องของกฎหมายในเรื่องของการจ้างงานรวมมาดูตามกฏหมายจริงๆก่อนว่าเนื้อหาสาระของกฎหมายแรงงานฉบับนี้มีอะไรที่น่าจะทำความเข้าใจให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและถูกต้องมาพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับที่ 2 ปีพุทธศักราช 2551 ในมาตรา 17 ได้เขียนเมื่อวานสัญญาจ้างจะสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดระยะเวลาในสัญญาจ้างจะต้องมีการบอกกล่าวล่วงหน้าในขณะเดียวกันสัญญาจ้างไม่มีกำหนดระยะเวลานายจ้างหรือลูกจ้างอาจจะมีการบอกเลิกสัญญาจ้างโดยการบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งได้รับทราบในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงวันกำหนดจ่ายค่าจ้างเพื่อให้มีผลยกเลิกเมื่อถึงกำหนดการจ่ายค่าจ้างคราวถัดไปข้างหน้าก็ได้โดยไม่จำเป็นจะต้องบอกบอกกล่าวล่วงหน้าเกิน 3 เดือนแต่ในช่วงสุดท้ายเขียนไว้ว่าทั้งนี้ให้ถือว่าสัญญาจ้างในการทดลองงานถือว่าเป็นการกำหนดระยะเวลาที่ไม่แน่นอนด้วยตรงนี้เราจะมองว่าตามเจตนารมณ์ของการเขียนกฎหมายฉบับนี้ไม่ได้มีการทดลองงาน  ไม่มีสัญญาจ้างทดลองงาน 180 วัน 190 วัน   120 วันนี้กรณีอื่นใดที่กรรมนายจ้างกำหนดในวันเวลาระยะเวลาทดลองงานนั้นไม่มีลูกจ้างเป็นลูกจ้างตามกฎหมายตั้งแต่วันแรกที่เข้าทำงานให้กับนายจ้างไม่ว่าจะจ้างเป็นรายเดือนรายวันหรือ LINE เหมาจ่ายตามผลงานก็ตามเว้นแต่จะมีการกำหนดโดยเขียนไว้สัญญาจ้างไว้อย่างชัดเจนว่าระยะเวลาการจ้างอาจจะเป็น 1 ปีหรือ 2 ปี   มาเรามาดูเรื่องของการจ้างงานซึ่งในอดีตที่ผ่านมาจนปัจจุบันนี้ก็ต่างมีหลายบริษัทมีการกำหนดว่าการจ้างบุคคลเข้าทำงานอันดับแรกคือการกำหนดให้มีการทดลองงานร้อยเก้าสิบวัน 180 วันมะม่วงสัตว์มีการกำหนดทดลองงานที่แตกต่างกันออกไปหรือมันบริษัทมีการทดลองงาน 190 วันเพราะครบวันทดลองงานฝ่ายบุคคลมาแจ้งว่างานทดลองงานยังไม่ได้มาตรฐานจึงมีการกำหนดให้เพิ่มวันเวลาให้เพิ่มวันทดลองงานขึ้นไปอีกในเรื่องนี้ในทางกฎหมายไม่มีผลใดๆทั้งสิ้นซึ่งถือว่าในสัญญาจ้างตามกฎหมายมีลูกจ้างเป็นลูกจ้างตามกฎหมายตั้งแต่วันแรกที่เข้ามาทำงานในบริษัทแล้วซึ่งความเชื่อพรุ่งนี้เป็นความเชื่อโบราณที่ปฏิบัติตามตามกันมาโดยไม่มีใครที่เข้าไปอ่านและศึกษากฎหมายแรงงานในข้อบังคับที่ชัดเจนในกรณีมีในระหว่างทดลองงานหรือวันแรกที่เข้าไปทำงานเท่าหัวหน้างานไม่พอใจหรือเห็นว่าผู้ปฏิบัติงานไม่มีความรู้ความสามารถจะต้องแจ้งให้ผู้ทำงานสร้างและบอกเลิกจ้างได้ทันทีในวันแรกของการทำงานซึ่งกรณีนี้เนี่ยลูกจ้างจะต้องออกอากาศจากการทำงานทันทีโดยไม่มีสิทธิประโยชน์ใดๆทั้งสิ้นมีหลายบริษัทยังโบราณและล้าหลังอยู่มากในเรื่องนี้ซึ่งมีการพิมพ์ในสัญญาจ้างอย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยว่าในระหว่างทดลองงานหากผลการทำงานไม่เป็นที่น่าพอใจบริษัทจะเลิกจ้างพนักงานงานได้ทันทีและพนักงานลูกจ้างที่ทดลองงานนั้นไม่มีสิทธิประโยชน์ที่จะเรียกร้องใดๆทั้งสิ้นซึ่งข้อความทั้งหมดเหล่านี้ล้วนขัดต่อกฎหมายแรงงานทั้งสิ้นข้อความทั้งหมดนี้เป็นหมูค่ะแม้จะระบุไว้ก็ตามแต่ไม่สามารถที่จะบังคับใช้ตามกฎหมายได้ซึ่งในสัญญาประเภทที่ไม่มีการกำหนดระยะเวลาในการจ้างไว้แน่นอนถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาจ้างหรือนายจ้างจะบอกเลิกสัญญาจ้างกับลูกจ้างนายจ้างจะต้องทำหนังสือบอกกล่าวให้ลูกจ้างทราบก่อน หรือถึงกำหนดวันที่จะจ่ายค่าจ้างง่ายๆก็คือวันจ่ายเงินเดือนไม่ใช่วันตัดงวดค่าจ้างยกตัวอย่างเช่นบริษัทกอมีกำหนดจ่ายค่าจ้างให้กับลูกจ้างทุกวันที่ 30 ถ้าบริษัทจะเลิกจ้างนายเอการกำหนดสัญญาเลิกจ้างถ้ากำหนดขึ้นวันที่ 30 กันยายนก็จะมีผลในการเลิกจ้างในเอนั้นในวันที่ 30 ตุลาคมห้ามออกวันที่ 28 กันยายนก็จะมีผลในวันที่ 28 ตุลาคมแต่ถ้าบอกวันที่ 1 ตุลาคมจะมีผลวันที่ 30 พฤศจิกายนดังนั้นเนี่ยเวลาบอกกล่าวการเลิกจ้างของนายจ้างต่อลูกจ้างต้องบอกกล่าววันที่ถึงหรือก่อนวันที่ถึงของการจ่ายค่าจ้างในงวดถัดไปและจะมีผลในงวดต่อไปในการจ่ายค่าจ้างดังนั้นถ้ามีการบอกเลิกจ้างลูกจ้างวันที่ 2 ตุลาคมและถ้านายจ้างจะให้ลูกจ้างออกจากงานไปเลยนั้นนายจ้างจะต้องมีการจ่ายค่าชดเชยต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคมไปถึงวันที่ 30 พฤศจิกายนไม่ใช่จ่ายแค่ 30 ตุลาคมต้องจ่ายถึงวันที่ 30 พฤศจิกายนนี่คือข้อความหมายที่บังคับไว้อย่างชัดเจนซึ่งเรื่องนี้โดยเฉพาะลูกจ้างรับนายจ้างจะต้องทำความเข้าใจในรายละเอียดเรื่องนี้ให้อย่างชัดเจนเพื่อให้มีผลในทางกฎหมายอย่างถูกต้อง

ในกรณีนี้บางบริษัทบอกว่าถ้าไม่ต้องจ่ายสินเชื่อแทนการบอกเลิกจ้างจะต้องดำเนินการอย่างไรในกรณีนี้สมมุติว่าทางบริษัทบอกกล่าวเลิกจ้างต่อลูกจ้างในวันที่ 2 ตุลาคมเรื่องนี้ทางเลือกที่ 1 คือต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคมถึงวันที่ 30 พฤศจิกายนก็ให้ลูกจ้างออกจากงานเลยในกรณีต่อมาก็ต้องปล่อยให้ลูกจ้างทำงานไปจนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายนแล้วจึงให้เขาพ้นสภาพการเป็นพนักงานในกรณีนี้ก็จะไม่มีการจ่ายเงินสินไหมค่าชดเชยในการบอกเลิกจ้างได้ในกรณีอย่างนี้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายที่ถูกต้อง
ประมาณรมฯพูดถึงกรณีความผิดร้ายแรงตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานซึ่งอยู่ในมาตรา 119 ที่มีการปรับปรุงแก้ไขเมื่อปีพศ 2551 และกำหนดไว้ว่ากรณีที่ลูกจ้างทำความผิดในกรณีใดที่เรียกว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงโดยนายจ้างสามารถบอกเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกจ้างกับลูกจ้างและไม่ต้องจ่ายเงินค่าชดเชยเรื่องนี้ตามกฎหมายได้เขียนไว้ว่าในมาตรา 119 กรณีที่นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้กับลูกจ้างซึ่งเลิกจ้างด้วยเหตุดังต่อไปนี้ ข้อที่ 1 ทุจริตต่อหน้าที่หรือลูกจ้างกระทำความผิดอาญาข้อที่ 2 จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายข้อ 3 ลูกจ้างประมาทเลินเล่อเป็นเหตุทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงซึ่งข้อนี้จะมีความแตกต่างจากข้อ 2 ก็คือเพิ่มคำว่านายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง  คดี 4 ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานระเบียบหรือคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมและนายจ้างได้เคยตักเตือนโดยทำเป็นหนังสือเว้นแต่กรณีที่ร้ายแรงนายจ้างไม่จำเป็นจะต้องตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษรหนังสือเตือนจะมีผลไม่เกิน 1 ปีในวันที่ลูกจ้างกระทำความผิดข้อที่ 5 ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันในวันทำงานที่ติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรคลอง 6 ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก negroni ที่มีโทษจำคุกนี้ให้เขียนไว้ว่าเป็นความผิดที่เป็นความผิดโดยประมาทหรือเป็นความผิดลหุโทษที่เป็นเหตุทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายจึงจะเข้าองค์ประกอบตามกฎหมายข้อนี้และประการสำคัญในกรณีที่มีการเลิกจ้างโดยไม่มีการจ่ายเงินค่าชดเชยตามเหตุผลดังกล่าวข้างต้นนี้ถ้านายจ้างไม่เป็นการระบุข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุที่ต้องมีการเลิกจ้างไว้อย่างชัดเจนในหนังสือบอกเลิกสัญญาจ้างหรือไม่แจ้งเหตุที่เลิกจ้างตอนที่จะเลิกจ้างนายจ้างจะยกเอาเหตุนั้นมาอ้างไม่ได้ ละมุนดูคำอธิบายข้อที่ 1 เรื่องการทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดโดยเจตนาแก่นายจ้างการทุจริตต่อหน้าที่มีความผิดที่ชัดเจนในกรณีที่ลูกจ้างทำหน้าที่ในหน้าที่ในกรณีที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อนายจ้างนี่คือคำจำกัดความของคำว่าทุจริตต่อหน้าที่ข้อที่ 2 เป็นการกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาที่จะทำให้มันเกิดความเสียหายแก่นายจ้างส่วนคำว่านายจ้างหมายถึงใครบ้างนั้นไม่ใช่จำกัดเฉพาะคำว่าเจ้าของกิจการเท่านั้นลืมกรรมการผู้จัดการแต่ถ้าเกิดเป็นผู้จัดการฝ่ายขายที่มีการนัดมอบหมายมีการประชุมชี้แจงข้อปฏิบัติทางด้านการขายต่อพนักงานและในระหว่างที่ผู้จัดการฝ่ายขายกำลังบรรยายแนะนำหรือให้คำชี้แจงอยู่ในขณะนั้นปรากฏว่ามีพนักงานฝ่ายขายคนหนึ่งลุกขึ้นมาโต้เถียงว่าแนวทางดังกล่าวไม่สามารถที่ทำให้เกิดการขายได้รัตนะผู้จัดการฝ่ายขายก็ได้อธิบายให้เหตุผลพนักงานขายดังกล่าวเกิดความไม่พอใจเดินเข้ามาทำร้ายร่างกายผู้จัดการฝ่ายขายในกรณีนี้ถือว่าพนักงานฝ่ายขายคนนั้นทำความผิดอาญาในกรณีนี้ผู้จัดการฝ่ายขายได้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนนายจ้าง  ข้อที่ 2 ลูกจ้างกระทำการจงใจเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายในข้อนี้พูดถึงเฉพาะความเสียหายยกตัวอย่างผู้จัดการฝ่ายผลิตกำลังชี้แจงกับพนักงานที่อยู่ในไลน์ผลิตในขณะเดียวกันก็มีการตักเตือนและอบรมพนักงานพนักงานคนนั้นเกิดความไม่พอใจได้จับโทรศัพท์ที่วางอยู่บนโต๊ะซึ่งเป็นทรัพย์สินของบริษัทนั้นยกขึ้นแล้วฟาดลงไปบนโต๊ะทำให้โทรศัพท์เครื่องนั้นได้รับความเสียหายแตกกระจายในกรณีนี้ลูกจ้างจงใจทำให้ทรัพย์สินของบริษัทเกิดความเสียหายทำให้นายจ้างเกิดความเสียหายในกรณีนี้เรียกว่าการจงใจกรณีต่อมาเป็นการที่ลูกจ้างกระทำความผิดที่เป็นการประมาทเลินเล่อซึ่งเป็นเหตุทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงการประมาทเลินเล่อคืออะไรการประมาณเริ่มหมายถึงการกระทำที่ไม่จงใจแต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการประมาทเลินเล่อนี้ในกรณีนี้ทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงร้ายแรงคืออะไรคำว่าร้ายแรงช่วงนี้ไม่ได้ไม่จำเป็นจะต้องคำนึงถึงมูลค่ามากหรือน้อยบางครั้งความเสียหายถึง 1 ล้านบาทก็ไม่เข้ากระหรี่ที่เสียหายอย่างร้ายแรงเสมอไปแต่มันขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศาลที่จะชี้มูลว่าความเสียหายนั้นเมื่อเทียบกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับกิจการของนายจ้างนั้นโดยเป็นเหตุทำให้นายจ้างนั้นเสียหายหรือได้รับผลกระทบหรือไม่เพียงใดความเสียหายนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงมูลค่าของตัวเงินเพียงอย่างเดียวแปลงมีความหมายถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นด้วยน่าจะเป็นความเสียหายต่อชื่อเสียงความน่าเชื่อถือภาพลักษณ์ขององค์กรซึ่งในกรณีเรื่องพรุ่งนี้นายจ้างอาจจะโลกเปลี่ยนเหตุผลว่าได้รับความเสียหายได้เช่นกัน  ในกรณีนี้ต้องเป็นคำสั่งของนายจ้างที่ชอบด้วยกฎหมายแต่ถ้าเป็นคำสั่งของนายจ้างที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายได้มีการตักเตือนลูกจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร แล้วก็ตามก็ไม่สามารถมีผลบังคับตามกฎหมายได้เช่นกันแม้นายจ้างจะตักเตือนลูกจ้างแล้วเป็นเอกสารก็ตามการทำเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายที่แจ้งเตือนเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วก็มีผลในทางกฎหมายในระยะเวลา 1 ปีแต่ถ้าพนักงานฝ่าฝืนหรือกระทำซ้ำก็จะมีผลในการเลิกจ้างตามกฎหมายทันที  ยกตัวอย่างกรณีที่พนักงานฝ่ายขายมักจะไม่สวมเครื่องแบบตามระเบียบของพนักงานฝ่ายขายไม่ค่อยชอบใส่แบบฟอร์มที่บริษัทกำหนดให้กรณีนี้มีการฝ่าฝืนเป็นประจำนั่งจ้างก็ทำการตักเตือนด้วยวาจาบ่อยๆครั้งก็ทำการตักเตือนโดยทำเป็นหนังสือขึ้นต่อมาลูกจ้างก็ยังทำการฝากพื้นเช่นเดิมเนื้อย่างตักเตือนด้วยหนังสือในเหตุผลที่พนักงานไม่ยอมส่งเครื่องแบบในขณะที่กำลังทำงานเมียนายจ้างจัดทำหนังสือตักเตือนครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 แล้วก็ตามในกรณีนี้นายจ้างสามารถที่จะบอกเลิกจ้างได้ทันทีหรือว่าคำสั่งนั้นมีผลบังคับใช้ตามกฎหมายซึ่งเป็นคำสั่งโดยชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมต่อนายจ้างในขณะเดียวกันนายจ้างที่จะออกคำสั่งคำเตือนเป็นลายลักษณ์อักษรนั้นต้องระบุวันที่กระทำความผิดพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่กระทำความผิดและกำหนดได้ว่าข้อบังคับนั้นผิดระเบียบข้อใดบ้างและประการสำคัญต้องมีเนื้อความที่เขียนว่าถ้าลูกจ้างกระทำความผิดซ้ำอีกนายจ้างจะลงโทษขั้นรุนแรงด้วยการเลิกจ้างโดยไม่มีการจ่ายค่าชดเชยเนื้อหาเหล่านี้เพื่อจะทำให้ครบองค์ประกอบของใบเตือน  ประการต่อมาการละเว้นหน้าที่เกินกว่า 3 วันทำงานไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่อย่างไรยกตัวอย่างเช่นต้องหยุดที่ครบองค์ประกอบ 3 วันทำการนั้นถ้าลูกจ้างหยุดวันศุกร์แต่มีวันเสาร์อาทิตย์คั่นตรงกลางแล้วพอถึงวันจันทร์วันอังคารลูกจ้างก็หยุดไม่มาทำงานอีก 2 วันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรในกรณีนี้เข้าองค์ประกอบที่ไหนจ้างสามารถที่จะบอกเลิกจ้างได้ทันทีโดยลูกจ้างจะอ้างเหตุผลว่ามีวันหยุดเสาร์อาทิตย์คั่นอยู่ไม่ครบองค์ประกอบนั้นไม่ได้ซึ่งกรณีนี้ไม่มีผลทางกฎหมาย  แต่ในเรื่องนี้ก็มีคำที่น่าพิจารณาว่าการหยุด 3 วันนี้ไม่มีเหตุผลอันสมควรกรณีอย่างนี้นายจ้างสามารถที่จะบอกเลิกจ้างได้ตามกฎหมายได้อย่างชัดเจน  ท่าการหยุดติดต่อกัน 3 วันนี้มีเหตุผลที่เป็นอันสมควรคำว่าเหตุผลอันเป็นที่สมควรนี้ก็ไม่สามารถที่จะถือว่าเข้าข่ายนายจ้างจะต้องบอกเลิกจ้างต่อลูกจ้างได้ซึ่งเหตุผลที่สมควรหรือไม่สมควรนี้ก็จะต้องไปพิจารณากันอีกครั้งถ้ามีกรณีข้อพิพาทเกิดขึ้นในกรณีนี้เมื่อลูกจ้างขาดงานเกิน 3 วันก็ควรนายจ้างก็ควรจะพิจารณาด้วยความเป็นธรรมซึ่งถ้านายจ้างเห็นว่าลูกจ้างขาดงานเกิน 3 วันวันที่ 4 นายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างหรือให้ลูกจ้างนั้นออกจากงานโดยทันทีนั้นไม่น่าจะชอบด้วยกฎหมายเพราะนายจ้างจะต้องทำตามกระบวนการถ้าเกิดกรณีพิพาทกันเกิดขึ้นนายจ้างจะต้องมีเอกสารหลักฐานแจ้งให้ฉันทราบด้วยว่ามีกระบวนการติดตามพนักงานที่ขาดงานนานแล้วโดยนายจ้างมีเอกสารหลักฐานติดตามให้ลูกจ้างกลับมาทำงานจริง

นายจ้างต้องมีกระบวนการที่ทำให้ศาลเชื่อว่าได้ดำเนินการติดตามให้ลูกจ้างกลับเข้ามาทำงานแล้วแต่ลูกจ้างก็ยังไม่กลับมาทำงานซึ่งกรณีนี้มีหลายครั้งที่นายจ้างบอกกล่าวเลิกจ้างลูกจ้างไปแล้วแต่ต้องรับลูกจ้างให้กลับเข้ามาทำงานตามคำสั่งของศาลเพราะมีเหตุมีหลักฐานไม่อาจเชื่อได้ว่าลูกจ้างนั้นละทิ้งหน้าที่ในการทำงานเกิน 3 วันเก่งแต่ลูกจ้างนั้นมีเหตุผลอันสมควรในกรณีที่หยุดเกิน 3 วันดังกล่าว  กรณีข้อต่อมากรณีที่ลูกจ้างได้รับโทษตามคำพิพากษาให้ถึงที่สุดให้จำคุกคำว่าถึงที่สุดต้องถึงที่สุดจริงๆเช่นศาลลงโทษลูกจ้างที่กระทำความผิดโดยประมาทซึ่งเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายกรณีที่ได้รับบาดเจ็บชื่อเรื่องนี้อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานฉันอาจจะมีการลงโทษจำคุกพิพากษา 1 ปีหรือปรับ 10000 บาทและเนื่องจากจำเลยได้รับรับสารภาพศาลจึงลดโทษให้เหลือครึ่งหนึ่งจากโทษจำคุก 1 ปีเหลือเพียง 6 เดือนและให้รอลงอาญาโดยให้ผู้ได้รับโทษมารายงานตัวทุกๆ 1 เดือนซึ่งในกรณีนี้นายจ้างอาจจะพิจารณาว่าได้รับโทษจำคุก 1 ปีก็เข้าใจว่าถึงที่สุดแล้วใช้คำว่าถึงที่สุดนั้นเป็นการรอลงอาญาไม่ใช่กรณีพิพากษาจำคุก 1 ปีชื่อเรื่องนี้นายจ้างไม่มีสิทธิ์ลงโทษลูกจ้างตามกฎหมายมาตรานี้ซึ่งเรื่องนี้ต้องพิจารณาให้ชัดเจนว่าถึงที่สุดของคำพิพากษาของศาลนั้นอยู่ในกรณีใด  ในกรณีต่อมาที่ลูกจ้างกระทำความผิดโดยเลินเล่อมีความประมาทโดยไม่ได้ตั้งใจศาลอาจจะมีคำสั่งลงโทษสถานเบาอาจจะเป็นโทษจำคุก 7 วันแต่ความเสียหายนั้นไม่ส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อนายจ้างในกรณีนี้นายจ้างจะอ้างเหตุผลไม่จ่ายเงินค่าชดเชยให้กับลูกจ้างนั้นไม่ได้ ซึ่งในกรณีความผิดลหุโทษนี้ลูกจ้างอาจจะกระทำความผิดเปิดเครื่องเสียงดังทำให้ได้รับความเสียหายต่อบุคคลที่อยู่ใกล้เคียงกรณีนี้ถ้าศาลมีคำสั่งพิพากษาให้จ่ายค่าปรับ 5,000 บาทแต่ลูกจ้างไม่มีเงินจ่ายค่าปรับจะต้องติดคุกแทนการจ่ายค่าปรับเป็นจำนวน 5 วันกรณีนี้ลูกจ้างต้องติดคุก 15 วันก 5 วันทำให้ไม่สามารถที่จะไปทำงานได้นายจ้างก็ยกเอาเป็นเหตุว่าลูกจ้างขาดงานเกินกำหนดจึงบอกเลิกจ้างต่อลูกจ้างในกรณีนี้ศาลก็ต้องพิจารณาต่อว่าการหยุดงานของลูกจ้างนั้นส่งผลเสียหายอย่างร้ายแรงต่อกิจการของนายจ้างมากน้อยหรือไม่เพียงใดแต่ถ้าไม่ส่งผลกระทบต่อนายจ้างอย่างร้ายแรงนายจ้างก็ไม่สามารถที่จะอ้างเหตุผลในการบอกเลิกจ้างกับลูกจ้างได้แต่อย่างใด

--------------------------------------------------------




วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560

มาตรการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการก่อสร้างจากอุทกภัยน้ำท่วม


[ เมื่อทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ  ได้รับทราบเรื่องร้องทุกข์และปัญหาความเดือดร้อนและผลกระทบที่เกิดจากอุทกภัยน้ำท่วม จากสมาชิกและผู้ประกอบการก่อสร้างแล้ว ทางสมาคม ฯ ก็ได้ดำเนินการนำข้อเรียกร้องและข้อเสนอดังกล่าวนั้น นำเสนอต่อภาครัฐเพื่อหามาตรการเข้ามาช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับความเดือดร้อน   ต่อมาทาง ภาครัฐก็ให้ความสำคัญ โดยออกมาตรการเข้ามาช่วยเหลือผู้ประกอบการ ที่ได้รับความเดือนร้อน ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ]



สังวรณ์  ลิปตพัลลภ  นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ

-----------------------------------------

            จากการที่ทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้รับข้อร้องเรียน ข้อร้องทุกข์และปัญหาความเดือดร้อน ที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยน้ำท่วมจากสมาชิกและผู้ประกอบการก่อสร้างนั้น   เมื่อทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ ได้รับเรื่องดังกล่าวแล้ว ก็ได้รีบดำเนินการโดยท่านนายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ (คุณสังวรณ์  ลิปตพัลลภ)  ก็ได้ติดตามเรื่องและรับทราบปัญหาและได้ดำเนินการหาทางช่วยเหลือสมาชิก และผู้ประกอบการที่ได้รับความเดือดร้อนนั้น โดยทางสมาคมได้นำข้อร้องเรียนและข้อเสนอดังกล่าว นำเสนอทางภาครัฐ เพื่อให้พิจารณาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นจากอุทกภัยน้ำท่วมนั้น  ทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยได้ทำหนังสือถึงภาครัฐที่เกี่ยวข้องหลายครั้ง ครั้งที่ 1 ส่งหนังสือไปเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2560 ครั้งที่ 2 ดำเนินการไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560    และครั้งที่สามก็ได้ยื่นเสนอหนังสือไปให้ภาครัฐที่เกี่ยวข้องลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560    โดยเนื้อความของหนังสือนั้น ได้แบ่งประเด็นปัญหาความเดือดร้อนและรายละเอียดพอที่จะสรุปได้ในเบื้องต้นดังนี้
ข้อที่ 1   ขอให้พิจารณาขยายระยะเวลาก่อสร้างนับตั้งแต่วันที่เกิดเหตุอุทกภัย จนถึงวันสิ้นสุดสถานการณ์โดยยึดตามประกาศของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เนื่องจากในช่วงเวลาดังกล่าวผู้ประกอบการก่อสร้างมีความจำเป็นต้องเข้าฟื้นฟูพื้นที่โครงการที่ได้รับความเสียหายจากการถูกน้ำท่วม และน้ำท่วมขังเป็นเวลานานอีกทั้งยังจะต้องเร่งปรับปรุง ซ่อมแซมความเสียหายให้กับงานก่อสร้างที่ได้ดำเนินการไปแล้ว รวมถึงเครื่องมือเครื่องจักร และวัสดุที่ถูกน้ำท่วมได้รับความเสียหาย
ข้อที่ 2 ขอให้พิจารณาขยายระยะเวลาก่อสร้างแก่จังหวัดใกล้เคียงเพิ่มเติมอีก 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดภูเก็ตและจังหวัดพังงา จากพื้นที่ดังกล่าวได้รับผลกระทบ สืบเนื่องจาก 12 จังหวัด ที่ได้ประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบอุทกภัย โดยเฉพาะปัญหาเส้นทางการคมนาคมที่ได้รับความเสียหาย และปัญหาการลำเลียงวัสดุ เช่น หิน ดินทรายที่ใช้ในการก่อสร้าง
ข้อที่ 3 ขอให้ช่วยพิจารณา ออกเป็นมติคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐจะได้ถือปฏิบัติ โดยไม่ใช้ดุลยพินิจ
            โดยสรุป ทั้งหมดนี้ก็เป็นข้อเสนอที่ทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ ได้ดำเนินการนำเสนอภาครัฐให้พิจารณา หามาตรการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนนั้น   จากการที่ทางสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ฯ ได้ยื่นข้อเสนอไปแล้วนั้น  ทางภาครัฐก็ได้รับทราบปัญหา จึงได้ออกมาตรการ ช่วยเหลือผู้ประกอบการงานก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบ  อันเนื่องจากอุทกภัยในภาคใต้  โดยมีเนื้อความมาตรการช่วยเหลือ แก่ผู้ประกอบการที่ประสบอุทกภัยน้ำท่วม พอสรุปได้ ดังนี้
            คณะรัฐมนตรี มีความเห็นชอบให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐได้นำหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบ อันเนื่องมาจากเหตุอุทกภัยภาคใต้  ที่คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุพิจารณาแล้ว ในการประชุมครั้งที่ 8/2560 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2560 ไปถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกันโดยมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย (มท.) ได้นำมาตรการดังกล่าวไปบังคับใช้ในการจัดซื้อจัดจ้าง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ
หลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือ แก่ผู้ประกอบการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบทางตรง หรือได้รับผลกระทบทางอ้อม จากการเกิดอุทกภัยในภาคใต้  ในช่วงเดือนธันวาคม 2559  ถึงเดือน กุมภาพันธ์  2560 มีดังนี้

ผู้มีสิทธิ์ ได้รับความช่วยเหลือ
           1. เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการก่อสร้างเท่านั้น
            2. ผู้ประกอบการก่อสร้าง ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัยที่เกิดขึ้นในช่วง ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2559  ถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560
            3.   ผู้ประกอบการก่อสร้างที่มีสิทธิ์ได้รับความช่วยเหลือ  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
            ประเภทที่
1 ผู้ก่อการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบทางตรง  ในพื้นที่ภาคใต้   12 จังหวัด ได้แก่จังหวัดพัทลุง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์  ซึ่งเป็นจังหวัดที่ประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบอุทกภัยภาคใต้
            ประเภทที่ 2   ผู้ประกอบการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบทางอ้อม  ในพื้นที่ภาคใต้ 2 จังหวัด ได้แก่จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต  ซึ่งเป็นจังหวัดใกล้เคียงกับพื้นที่ที่ประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบอุทกภัยภาคใต้   และได้รับความเสียหายใน 3 ลักษณะ คือปัญหาการขาดแคลนแรงงาน   ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบวัสดุก่อสร้าง  และปัญหาเส้นทางคมนาคมที่ได้รับความเสียหาย
             4. เป็นผู้รับจ้างที่ได้ลงนามทำสัญญาจ้างกับส่วนราชการ  รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ โดยบังคับใช้กับสัญญาจ้างก่อสร้างที่ได้ลงนามกับหน่วยงานก่อนวันที่   1 ธันวาคม 2559   หรือสัญญาจ้างก่อสร้างที่ได้ลงนามไว้กับหน่วยงานตั้งแต่วันที่   1 ธันวาคม 2559   ถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560   ซึ่งสัญญาดังกล่าวยังมีนิติสัมพันธ์อยู่และยังมิได้มีการส่งมอบงานงวดสุดท้าย  หรือสัญญาดังกล่าวยังมีนิติสัมพันธ์อยู่ แต่ได้ส่งมอบงานงวดสุดท้ายในช่วงวันที่ 1 ธันวาคม 2560 ถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่เกิดอุทกภัย
แนวทางการให้ความช่วยเหลือให้หน่วยงาน ขยายระยะเวลาขอสัญญาจ้างก่อสร้างที่เข้าข่ายหลักเกณฑ์ผู้มีสิทธิ์ได้รับความช่วยเหลือ ดังนี้


            (1) ขยายระยะเวลาออกไปอีกจำนวน 120 วัน สำหรับผู้ประกอบการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบทางตรง
            (2) ขยายระยะเวลาออกไปอีกจำนวน 70 วัน  สำหรับผู้ประกอบการก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบทางอ้อม
            นี้คือ มาตรการที่ภาครัฐ ได้ลงมติให้เป็นแนวทางการทำงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประกอบการงานก่อสร้างที่ได้รับผลกระทบ จากการเกิดอุทกภัยน้ำท่วม  และจากนี้ไปผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบนั้น จะต้องทำการศึกษา และทำความเข้าใจในเนื้อหาของมาตรการ ว่าผลกระทบของกิจการเรานั้นจะเข้ากับมาตรการความช่วยเหลือในเงื่อนไขตามข้อใด แล้วก็ไปดำเนินการติดต่อ เพื่อขอรับความช่วยเหลือ ตามเงื่อนไขและมาตรการความช่วยเหลือของภาครัฐ ดังกล่าวได้ โดยตรง


------------------------------------------------------